วันอาทิตย์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2562

กรณีศึกษา เมื่อคู่พิพาท กลับกลายเป็นคู่ส่งเสริมซึ่งกันและกันอย่างบริสุทธิ์ใจ

6 กุมภาพันธุ์ 2562  กลุ่มชาวบ้านได้รวมตัวกันส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารไว้ทานที่หน้าบ้านของแต่ละท่านเอง และเริ่มมีแนวคิดที่จะแบ่งบางส่วนขายให้เพื่อบ้านที่อยากทานผักปลอดสารแต่ไม่มีเวลาปลูก และมีช่องทางเพิ่ม ที่@thanud

แปลงปลูกผักปลอดสารเคมี หน้าบ้านคุณ อัญชลียร์ 

แปลงปลูกผักปลอดสารเคมี หน้าบ้านคุณ อัญชลียร์ 

แปลงปลูกผักปลอดสารเคมี หน้าบ้านคุณ อัญชลียร์ 

แปลงปลูกผักปลอดสารเคมี หน้าบ้านคุณ อัญชลียร์ 
แปลงปลูกผักปลอดสารเคมี หน้าบ้านคุณ อัญชลียร์ 

แปลงบ้าน สท บุญชัย ปลูกแบบปลอดสารปกติ

แปลงบ้าน สท บุญชัย ปลูกแบบปลอดสารปกติ
แปลงบ้าน สท บุญชัย ปลูกแบบปลอดสารปกติ

(บ้านคุณอ้อน)ผักปลอดสารปลูกได้งามกว่าเคมี ใช้อะมิโนโบทานีนูทรา

(บ้านคุณอ้อน) ก็งาม หญ้าก็งาม

(บ้านคุณอ้อน)  อะมิโน โบทานีนูทรา อัลฟ่า ไม่มีหนอนแมลงมารบกวน

(บ้านคุณอ้อน) ผักสวนครัวบ้านคุณอ้อน ปลูกโดยใช้นวัตกรรมของเรา

(บ้านคุณอ้อน) โดยใช้ อะมิโนโบทานี นูทรา อย่างเดียว
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ปลูกพืชผัก ปลอดสารเคมี

ต้องขอขอบคุณทุกท่าน และทุกภาคส่วน ที่เปิดโอกาสให้ผม ธนัช ศิรดุลยกร เข้าร่วมแก้ไขปัญหาข้อพิพาท ระหว่างชาวบ้านในหมู่บ้าน กับสวนปลูกคะน้าติดกับหมู่บ้าน ในเรื่องของสารเคมีฆ่าแมลงทำให้เด็กและคนชรา เจ็บป่วยรักษาไม่หาย ผมในฐานะเป็นผู้ให้ความรู้ในการทำเกษตรอินทรีย์ปลอดสารเคมี100% ได้รับเชิญในนามมูลนิธิ ท่านพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เพื่อการพัฒนา และสันติภาพ  ในวันที่ 23 มกราคม 2562 ได้ยุติการพิพาทเรียบร้อย

สิ่งที่ผมได้เขียนต่อไปนี้เพื่อบันทึกเรื่องราวที่ผมทำไว้เป็นกรณีศึกษาของผม และเพื่อให้คุณที่ผมรู้จักป้องกันและระวังไม่ให้ปัญหาแบบนี้เกิดขี้นมาในท้องถิ่นของท่าน

23 มกราคม 2562  ชาวบ้านผู้เดือนร้อนกับเจ้าของสวนยุติข้อพิพาทด้วยว่า เจ้าสวนจะทำสวนแบบอินทรีย์ ไม่ใช้สารเคมี ถ้าใช้สารเคมี แล้วพิสูตรได้ก็ต้องยุติการทำสวนทันที
24 มกราคม2562  ผมได้พูดคุยกับผู้นำชาวบ้านว่าควรตั้งLine กลุ่ม โดยมีเจ้าของสวนร่วมด้วย ทั้งสองฝ่ายเห็นตรงกัน ตั้งLine กลุ่ม สนั่นรักษ์ โมเดล
26 มกราคม  2562 เจ้าของสวนและชาวบ้านร่วมกันมาทำความเข้าใจ ในการปลูกคะน้าแบบปลอดสารเคมี

            
พื้นที่สวนคะน้า ติดกับหมู่บ้าน

พื้นที่สวน  40 ไร่

พื้นที่สวนฟื้นหน้าดินกำจัดหญ้า


ชาวบ้านพบกันครั้งแรกหลังจากยุติข้อพิพาท สถานที่สวนคะน้า

คุยทำความเข้าใจทั้งสองฝ่าย

สรุปข้อทำงานร่วมกันได้อย่างมีความสุข

คำขอบคุณจากชาวบ้านที่เดือดร้อย

ฟ้งเสียงชาวบ้านและดูรอยยิ้มเจ้าของสวน




มาทำความเข้าใจ กับ สารจับใบ บอกสูตรให้ จะทำใช้เอง หรือ ทำขายก็ได้

    เกษตรกร หรือคนทำด้านการเกษตรจะรู้จักดี กับคำว่า "สารจับใบ"  เพราะเวลาจะฉีด ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลง ฉีดฮอร์โมน ส่วนใหญ่ต้องผสมสารจับใบ  เพราะเข้าใจว่าพอผสมสารจับใบแล้ว สารที่ฉีดไปจะติดใบพืชได้นาน

   เรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับสารจับอย่างถูกต้องกันเสียที

สารจับใบ ทางภาษาเคมีเรียกว่า สารลดแรงตึงผิว (surfactant) 
หรือ surface active agent หรือ amphiphile คือ สารที่มีโมเลกุลหรือไอออนซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่มีขั้วหรือส่วนที่ชอบน้ำ (hydrophilic) และส่วนที่ไม่มีขั้ว หรือส่วนที่ไม่ชอบน้ำ (hydrophobic) ซึ่งทั้ง 2 ส่วนนี้ต้องสมดุลกันทำให้ถูกดูดซับที่พื้นผิวหรือระหว่างพื้นผิวของของเหลว ทำให้ความเข้มข้นที่พื้นผิวสูงกว่าความเข้มข้นภายในเนื้อของของเหลวและแรงตึงผิวลดลง


สารที่เป็น surfactant ได้แก่
  • สารซักฟอก (detergent) 
  • สารช่วยเคลือบผิว (wetting agent) 
  • อิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) 
  • สารช่วยกระจายตัว (dispenrant)

สรุปเพื่เข้าใจง่าย ๆ 
คือ ปกติใบพืชจะมีความมันของใบ เมื่อโดนน้ำส่วนใหญ่น้ำจะกลิ้งหนีไม่ติดใบพืช เวลาลาเกษตรฉีดอะไรก็แล้วที่เป็นนำมันจะไม่เกาะใบพืช ทำให้สิ้นเปลือง

จึงมีคนคิดเอาสารลดแรงตึงผิวไปผสมเพื่อที่จะลดแรงตึงผิวที่ใบพืช เวลาฉีดอะไรที่เป็นน้ำก็จะติดใบพืชครับ

- มีคนส่วนใหญ่ใช้น้ำยาล้างจานผสมแทนสารจับใบ ก็ใช้ได้ผล เพราะเป็นสารตัวเดียวกัน แต่ไม่ควรใช้เพราะน้ำยาล้างจานบางยี่ห้อใช้ สารขจัดคราบอย่างแรงมาผสมให้เจือจาง มันจึงมีฤทธิ์แรงเกิน
- บางท่านก็ซื้อจากร้านขายสินค้าทางการเกษตรมาใช้

วิธีทำสารจับใบใช้เอง
1.สารลดแรงตึงผิวก็คือ( Texapon N70) ราคาขายปลีก กิโลกรัมละ ประมาณ 80 บาท
2.นำมาละลายในน้ำเปล่า 10 ลิตร
3.ปรับข้นด้วยเกลือ ประมาณ ครึ่งกิโลกรัม
 ก็จะได้หัวเชื้อสารจับใบ 11 ลิตร ราคาลิตรละ ประมาณ 8 บาท
วิธีใช้
นำหัวเชื้อ 200 ซีซี ไปผสมกับสารที่จะใช้ฉีด 200 ลิตร
ต้นทุนตอนใช้จริง ผสมได้ 200 ลิตร ใช้ 200 ซีซี ราคา 1.6 บาท

หลายท่านบอกว่ามีสารจับใบของ พวกแอบซ่าทั้งเวลาใช้น้ำจะวิ่งทั่วใบพืช  ถ้าต้องการแบบนั้นก็เพิ่ม
สารตัวทำลายน้ำตะกูล Butyl alcohol ลงไปก็จะทำให้เวลาฉีดน้ำจะวิ่งทั่วใบ

หัวเชื้อ N70 หาซื้อได้ที่ www.siamabsolute.co.th

ข้อแนะนำ การใช้สารจับใบที่ถูกต้องและควรใช้
- ไม่ควรใช้สารจับใบ ในพืชหลักที่เราปลูก เพราะการใช้ผสมฮอร์โมนหรือผสมอาการทางใบให้พืช เมื่อเราฉีดแล้วจะทำให้ใบพืชมีน้ำเกาะได้ง่าย โอการเกิดโรคทางใบพืชสูง

- สารจับใบควรใช้ในการกำจัดวัชพืชจะได้ประโยชน์สูงสุดครับ

ฝากทุกท่านไว้พิจารณาครับ



วันเสาร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2562

ผลผลิตเกษตรอินทรีย์ปลอดสารเคมี ออกร้านเปิดห้างใหม่ที่ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี

คุณเอกชัย ปัญญานนท์ กลุ่มเกษตรอนิทรีย์ ปลอดสารเคมี 100 % ต.หนองฝ้าย อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี นำผลผลิตอินทรีย์ปลอดสารเคมี100% ออกจำหน่ายในงานเปิดห้างใหม่ที่ อำเภอเมืองกาญจนบุรี วันที่ 26 มกราคม 2562
เกษตรอินทรีย์

ผลผลิตas`






ยินดีต้อนรับคุณ ปัด เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารเคมี100%


      คุณปัด ผู้มาเริ่มบุกเบิกเกษตรอินทรีย์ แห่งใหม่ที่ อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ปกติคุณปัดได้ทำเกษตรอินทรีย์ที่จังหวัดสุพรรณจนประสบความสำเร็จแล้ว ขยายฐานการปลูกมาที่ เมืองกาญจนบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่ดินทราย  พื้นที่เดิมปลูก อ้อย และมันสำปะหลัง มาก่อน จากแปลงที่ท่านเห็นได้ปลูก ในภาพข้างล่างนี้ เป็นการปลูกครั้งแรก
      คุณเอกชัย ปัญญานนท์ เจ้าของสวน กลับบ้านเรารักรออยู่ ได้ชวนคุณปัด เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ ปลอดสารเคมี100%  โดยการทำแบบมีที่ปรึกษา ใช้นวัตกรรม การฟื้นฟูดิน ของ อาจารย์ ธนัช ศิรดุลยกร แห่งบริษัท สยามยั่งยืน จำกัด
คุณปัด เเกษตรอินทรีย์ อ.เลาขวัญ และ สุพรรณบุรี 

แปลงผักอินทรีย์

แปลงผักอินทรีย์

แปลงผักอินทรีย์ ที่ อ.เลาขวัญ 


แปลงผักอินทรีย์พื้นดินทราย

แปลงผักอินทรีย์ ปรับพื้นที่ได้ 1 เดือน
พื้นดินก่อนหน้าปลูก อ้อย ปลูกมันสำปะหลัง


พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1 ไร่เบื้องต้นในการทำทดลองปลูก

วันศุกร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2562

สร้างเมืองอินทรีย์ปลอดสารเคมี ด้วยนวัตกรรมสร้างหน้าดินในชั้นใต้ดิน เพื่อเตรียมปลูกหนอไม้ฝรั่ง และกระเจี๊ยบขาว

ใช้เครื่องจักรโรยอินทรีย์วัตถุในพื้นที่ 1 ไร่ ต่อ 1 ตัน
         คุณเอกชัย ปัญญานนท์  เจ้าของสวน กลับบ้านเรารักรออยู่ ต.หนองฝ้าย อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ผู้ร่วมบุกเบิกกับ อาจารย์ ธนัช ศิรดุลยกร บริษัท สยามยั่งยืน จำกัด และทีมงาน ร่วมกันพลิกพื้นดินทรายให้กลายเป็นเมืองเกษตรอินทรีย์ปลอดสารเคมี100% แห่งแรกของเมืองไทย ก็ว่าได้ ด้วยนวัตกรรม การสร้างหน้าดินใหม่ในชั้นใต้ดิน  ในพื้นที่ประมาณ 200 ไร่ ไม่นับรวมพื้นที่ของเกษตรกรแนวร่วม
           
                                    การปรับปรุงพื้นที่นี้สำหรับปลูกกระเจี๊ยบขาว และหนอไม้ฝรั่ง

ขั้นตอนแรก ใช้เศษขี้เค้กอ้อย จากโรงงานน้ำตาลมาผสมกับดิน และเศษต้นกระถินสับ
แล้วรดด้วยน้ำ อะมิโน โบทานี นูทรา ให้ทั่วกอง
การสร้างเมืองอินทรีย์ ต้องใช้เครื่องมือหนัก


นวัตกรรม การสร้างหน้าดินในชั้นใต้ดิน
การสร้างเมืองเกษตรอินทรีย์ ที่ อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี
สร้างเมืองเกษตรอินทรีย์ปลอดสารเคมี ที่ อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้สร้างเมืองอินทรีย์ ปลอดสารเคมี

พื้นที่ที่โดยด้วยอินทรีย์วัตุถแล้ว






วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2562

ปลูกฟักทอง สวนกลับบ้านเรารักรออยู่ อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี


             คุณเอกชัย ปัญญานนท์ แห่งสวนกลับบ้านเรารักรออยู่ ต.หนองฝ้าน อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ได้ปลูกฟักทองอินทรีย์ ปลอดสารเคมีใกล้เริ่มมีผลผลิตออกตลาดแล้วครับ ใครสนใจสั่งซื้อได้ที่  Id Line @thanud

ฟักทอง อินทรีย์ ปลอดสารเคมี

ฟักทองเนื้อดี



วันจันทร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2562

เรียนรู้เรื่องดินปลูกทุเรียน จากคุณอัศว์ หมอดิน แห่ง อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี

ต้นทุเรียนที่เป็นโรคกำลังฟื้นฟูด้วยการใช้ อะมิโน โบทานี นูทรา อัลฟ่า
      วันที่ 19 มกราคม 2562 อาจารย์ ธนัช ศิรดุลยกร ตัวแทนบริษัท สยามยั่งยืน จำกัด และทีมงานได้เดินทางไป อำเภอท่าใหม่  จังหวัดจันทบุรี เพื่อพบ คุณอัศว์ หมอดิน แห่งจันทบุรี ซึ่งเป็นปราชญ์เรื่องดินและเรื่องทุเรียนที่แก่งมากท่านหนึ่ง  ซึ่งทางบริษัท สยามยั่งยืน จำกัดได้ผลิตและจำหน่าย อะมิโน โบทานีนูทรา อัลฟ่า และ อะมิโน โบทานีนูทรา โอเมก้า เพื่อมาใช้กับทุนเรียน เพื่อให้ความแข็งแรงแก่พืช และสร้างความคุ้มกันการเกิดโรค 
คุณอัศว์ (ขวามมือ) 


เดินชมสวนทุเรียน
ต้นทุนเรียนที่พร้อมให้ผลผลิต
คุณอัศว์ปราชญ์แห่งทุเรียนท่านหนึ่ง

ขอบคุณ ทุกองค์ความรู้ที่คุณอัศว์ให้มา

คุณอ้อน ฝ่ายการตลาดมอบผลิตให้คุณอัศว์ได้ใช้
โบทานีนูทรา อัลฟ่า
โบทานีนูทรา โอเมก้า